|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ท้าวยายม่อม ( ต้น ) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clerodendrum petasites (Lour.) S.Moore |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วงศ์ : Labiatae |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่ออื่น : กาซะลอง จรดพระธรณี ดอกคาน (ยะลา) ท้าวยายม่อมป่า (อุยลราชธานี) ปิ้งขม ปิ้งหลวง (ภาคเหนือ) พญารากเดียว (ภาคใต้) พญาเล็งจ้อน เล็งจ้อนใต้ (เชียงใหม่) พมพี (อุดรธานี) พวกวอ (กะเหรี่ยง-กำแพงเพชร) พินที (เลย) โพพิ่ง (ราชบุรี) ไม้เท้าฤๅษี (ภาคเหนือ,ภาคใต้) หญ้าลิ้นจ้อน (ประจวบคีรีขันธ์) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
เป็นไม้ยืนต้นขนาดย่อม
ลำต้นตั้งตรงไม่มีกิ่งก้านสาขา ลำต้นโตเท่านิ้วมือ สูงประมาณ 4-5 เมตร
มีรากเดี่ยวพุ่งตรงลึก
ใบ
เป็นไม้ใบเดี่ยว
รูปหอกเล็กเรียวยาว 6-7 นิ้ว ปลายและโคนแหลม สีเขียว
ออกตามข้อตรงกันข้ามเป็นคู่ๆ สลับทางกันเป็นพุ่มที่กลางต้นถึงปลาย
ดอก
ช่อเล็กๆ ออกเป็นช่อชั้นๆ
ที่ปลายยอดเหมือนฉัตร ดอกคล้ายดอกปีบสีขาว มีจานรองดอก 5 แฉก สีแดง
ผล
กลมเท่าลูกเถาคัน |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สรรพคุณ :
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||