|
|||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่มยาขับปัสสาวะ |
|||||||||||||||||||||||||||||
กวาวต้น หรือ ทองกวาว |
|||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Butea
monosperma (Lam.) Taub |
|||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อสามัญ : Flame of the Forest, Bastard Teak |
|||||||||||||||||||||||||||||
วงศ์ : Leguminosae-Papilionoideae |
|||||||||||||||||||||||||||||
ชื่ออื่น : กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ) จอมทอง (ภาคใต้) จ้า (เขมร) ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง) |
|||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : |
|||||||||||||||||||||||||||||
สรรพคุณ :
ข้อควรระวัง
:
เนื่องจากหลักฐานทางด้านความเป็นพิษมีน้อย
จึงควรที่จะได้ระมัดระวังในการใช้ และไม่ควรใช้ติดต่อกันนานๆ
สารเคมี - สารเคมีที่พบในดอกทองกวาว คือ Pongamin (Karanin), Kaempferol, ?-sitosterol, Glabrin, Glabrosaponin, Stearic acid, Palmitic acid, Butrin, Isobutrin coreopsin, Isocoreopsin, Sulfurein monospermoside และ Isomonospermoside สารที่พบส่วนใหญ่คือสาร ซึ่งเป็นองค์ประกอบของสีดอกทองกวาว มีสารที่มีรสหวานคือ glabrin. |
|||||||||||||||||||||||||||||