|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่มยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืด ท้องเฟ้อ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อบเชยต้น (เชียด) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinnamomum iners Reinw. ex Blume |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อสามัญ : Cinnamon |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วงศ์ : Lauraceae |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่ออื่น : กระแจะโมง กะเชียด กะทังนั้น (ยะลา) กระดังงา (กาญจนบุรี) กะพังหัน โกเล่ เนอม้า (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) เขียด เคียด เฉียด ชะนุต้น (ภาคใต้) มหาปราบตัวผู้ อบเชย อบเชยต้น (ภาคกลาง) ดิ๊กซี่สอ (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่) บอกคอก (ลำปาง) ฝักดาบ (พิษณุโลก) พญาปราบ (นครราชสีมา) สะวง (ปราจีนบุรี) |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ไม้ต้น ใบและเปลือกหอม ใบ
เดี่ยว เรียงตรงข้าม เมื่อขยี้ใบจะมีกลิ่นหอม ดอกช่อ
ออกที่ปลายกิ่ง สีเหลืองอ่อนหรือเขียวอ่อน เหม็น กลีบรวมชั้นนอก 3 กลีบ
คล้ายกลีบเลี้ยง กลีบรวมชั้นใน 3 กลีบ แยกกันแต่ติดตรงโคน ผลสด
แก่สีม่วงดำ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สรรพคุณและวิธีใช้
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||