|
|
|
|
|
|
|
|
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
คือ การนำเอาเซลล์หรือเนื้อเยื่อ หรือ อวัยวะบางส่วนของพืช
เช่น ยอด
ลำต้น ใบ ราก ส่วนต่างๆ ของดอกหรือผล
มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ
|
|
|
|
ต้นกล็อกซีเนียที่เกิดจากใบ
|
|
|
ต้นหวายที่เกิดจากเอ็มบริโอ
|
ส่วนประกอบของอาหารสังเคราะห์
-
ธาตุอาหารที่พืชต้องการ แบ่งเป็น
ธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในปริมาณมาก เช่น ไนโตรเจน,
ฟอสฟอรัส,
โปแตสเชี่ยม
ฯ
และธาตุอาหารรองที่พืชต้องการในปริมาณที่น้อย เช่น เหล็ก,
สังกะสี,
ทองแดง,
โบรอน
ฯลฯ
-
วิตามิน
เช่น
thiamine, nicotinic acid,
inositol
ฯลฯ
-
สารควบคุมการเจริญเติบโต
-
น้ำตาล
-
สารประกอบอินทรีย์อื่น เช่น น้ำมะพร้าว,
กล้วยบด ฯลฯ
-
วัสดุค้ำจุน เช่น วุ้น (ในกรณีที่เป็นอาหารแข็ง)
ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ประกอบด้วยส่วนสำคัญ
3 ส่วนคือ
|
|
|
ห้องเตรียมอาหาร |
ห้องย้ายเนื้อเยื่อ |
ห้องเลี้ยงเนื้อเยื่อ |
ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
|
|
-
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
-
ย้ายปลูก
|
การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
|
|
นึ่งฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ
121 เซ็ลเซียส
ความดัน
15
ปอนด์/ตารางนิ้ว นาน
15-20
นาที
|
อาหารสำหรับเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
|
......................................................................................................................................................
การฟอกทำความสะอาดชิ้นพืช |
|
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
|
การขยายพันธุ์พืช
ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนี้
สามารถเพิ่มปริมาณต้นพืชได้เป็นปริมาณมากในคราวเดียวกัน
และใช้ระยะเวลาสั้น
|
|
|
เพาะเลี้ยงเพื่อกระตุ้นให้ชิ้นพืช
เกิดยอดใหม่
|
เพาะเลี้ยงเพื่อกระตุ้นให้ชิ้นพืช
จำนวนมาก
|
|
|
เพาะเลี้ยงเพื่อกระตุ้น
ให้เกิดราก
|
เก็บรักษาเนื้อเยื่อไว้ที่ห้องที่ควบคุมอุณหภูมิ
24
0ซ,
มีความเข้มแสง
2,000 ลักซ์
และให้แสงนาน
14 ชม./วัน
|
ย้ายปลูกและปรับสภาพต้นในวัสดุปลูกที่เป็นขี้เถ้าแกลบ
และเก็บรักษาไว้ในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิ
24
0ซ
|
|
ย้ายปลูกลงถุงดำที่มีวัสดุเพาะ
|
ต้นขนุนจากการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
|
|
|
|
|