|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
กลุ่มยาถ่าย |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชุมเห็ดเทศ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cassia alata ( L.) Roxb. |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อสามัญ : Ringworm Bush |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
วงศ์ : Leguminosae |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่ออื่น : ขี้คาก ลับมีนหลวง หมากกะลิงเทศ ชุมเห็ดใหญ่ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-3 เมตร แตกกิ่งออกด้านข้างในแนวขนานกับพื้น ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนานรูปวงรีแกมขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-15 ซ.ม. หนูใบเป็นรูปสามเหลี่ยม ดอกช่อ ออกที่ซอกใบตอนปลายกิ่งกลีบดอกสีเหลืองทองใบประดับสีน้ำตาลแกมเหลือง หุ้มดอกย่อยเห็นชัดเจน ผลเป็นฝัก มี 4 ครีบ เมล็ดแบน รูปสามเหลี่ยม |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||
ส่วนที่ใช้ : ใบสดหรือแห้ง เมล็ดแห้ง
ดอกสดของต้นขนาดกลาง ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป
วิธีและปริมาณที่ใช้ :
สารเคมี : ใบ พบ anthraquinone เช่น aloe-emodin, chrysophanol, sennoside, flavonoids, terpenoids, iso-chrysophanol, physcion glycoside, kaempferol, chrysophanic acid, lectin, sitosterols, rhein |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||